สรุปสิ่งที่ฟรีแลนซ์ต้องเขียนในใบสัญญา
- ส่งงานให้ดูกี่แบบ แก้ไขได้กี่ครั้ง
- มัดจำกี่บาท
- ค่ายกเลิกงานเท่าไหร่
- ลิขสิทธิ์เป็นของใคร
- จ่ายเงินในระยะเวลากี่วันหลังงานเสร็จ
- หากลูกค้าไม่ให้ความร่วมมือในการทำงานให้เสร็จ จะปรับเท่าไหร่
- บริการหลังการขายเป็นอย่างไร
ส่วนรายละเอียดลองตามไปอ่านได้ที่ 7 สิ่งสำคัญที่ฟรีแลนซ์ต้องเขียนในใบสัญญา ก่อนโดนโกง !!
Pre-Flight Check
- These instructions are intended specifically for adding a user on Ubuntu 14.04 LTS.
- I’ll be working from a Liquid Web Core Managed Ubuntu 14.04 LTS server, and I’ll be logged in as root.
Step 1: Add the User
It’s just one simple command to add a user. In this case, we’re adding a user called mynewuser :
adduser mynewuser
First you will be prompted to enter the user’s password (twice); do this step. Next you’ll be prompted to enter in the user’s information. This step is not required, and pressing enter fills the field with the default information:
Adding user `mynewuser’ … Adding new group `mynewuser’ (1001) … Adding new user `mynewuser’ (1001) with group `mynewuser’ … Creating home directory `/home/mynewuser’ … Copying files from `/etc/skel’ … Enter new UNIX password: Retype new UNIX password: passwd: password updated successfully Changing the user information for mynewuser Enter the new value, or press ENTER for the default Full Name []: User Room Number []: Work Phone []: Home Phone []: Other []:
When prompted with the following question, enter Y then hit enter to continue.
Is the information correct? [Y/n] Y
Step 2: Grant Root Privileges to the User
visudo
Find the following code:
# User privilege specification root ALL=(ALL:ALL) ALL
In this case, we’re granting root privileges to the user mynewuser . Add the following below that code:
mynewuser ALL=(ALL:ALL) ALL
Then exit and save the file with the key commands Ctrl-x, Y, enter.
If you’ve followed the instruction above correctly, then you should now have a user setup by the name of mynewuser which can use sudo to run commands as root!
ที่มา How to Add a User and Grant Root Privileges on Ubuntu 14.04
เก็บไว้ก่อน เดี๋ยวค่อยมาแปลและเขียนใหม่นะครับ
This article contains a brief introduction to set up an FTP-Server under Debian Linux. Activation of an FTP server should be done similarly with other distributions of Linux. Debian 5.0 (x86) was used as the test system.
Contents
- Installation of the required proftpd Package
- Adjusting the Configuration
- Anonymous FTP
- Re-loading the Configuration and Re-starting the FTP Server
- Links
Installation of the required proftpd Package
ProFTPd FTP-Server was used for this introduction because of its simply installation and configuration.
apt-get install proftpd
If the package cannot be found, update the local list of packages using:
apt-get update
If the package still cannot be installed after that, check the /etc/apt/sources.list on the appropriate Debian mirror server. You will find more information about this in the article Debian Mirror.
Indicate in the subsequent inquiry whether the FTP server should act as a standalone server (standalone) or as a service of inetd. In this example, the standalone option has been selected. Adjusting the Configuration
Our configuration assumes that we will login using system users found in the ftpuser group.
In order to adjust the configuration to your needs, edit the /etc/proftpd/proftpd.conf file.
If you are not using IPv6, this feature should be deactivated first:
UseIPv6 off
After that, we will add the following instruction at the end of the file:
<Global> RequireValidShell off </Global> DefaultRoot ~ ftpuser <Limit LOGIN> DenyGroup !ftpuser </Limit>
What do the instructions mean?
As a first step, we told ProFTPd that users wanting to login do not need a shell. Afterwards, we instructed ProFTPd to lock users in their home directory using DefaultRoot. Finally, we specified that only those users who are members of the ftpuser group could login.
We will now restart our FTP server so that our configuration takes effect:
/etc/init.d/proftpd restart
Then, we will create the ftpuser group and a first user that will be able to login.
addgroup ftpuser
Now, we create the user:
adduser ftpbenutzer -shell /bin/false -home /var/www
Finally, we assign the user to the ftpuser group:
adduser ftpbenutzer ftpuser
That’s everything. You should now be able to login with the user via FTP.
You have to run sudo deluser username groupname to delete a user from it's corresponding group. And run this sudo deluser --group groupname command to delete a group.
Anonymous FTP
By adding the following section to the etc/proftpd/proftpd.conf file, you will also give anonymous users (read) access to the FTP area:
. . . <Anonymous ~ftp> User ftp Group nogroup # We want clients to be able to login with "anonymous" as well as "ftp" UserAlias anonymous ftp # Cosmetic changes, all files belong to ftp user DirFakeUser on ftp DirFakeGroup on ftp RequireValidShell off # Limit the maximum number of anonymous logins MaxClients 10 # We want 'welcome.msg' displayed at login, and '.message' displayed # in each newly chdired directory. DisplayLogin welcome.msg DisplayFirstChdir .message # Limit WRITE everywhere in the anonymous chroot <Directory *> <Limit WRITE> DenyAll </Limit> </Directory> # # Uncomment this if you're brave. # # <Directory incoming> # # # Umask 022 is a good standard umask to prevent new files and dirs # # # (second parm) from being group and world writable. # # Umask 022 022 # # <Limit READ WRITE> # # DenyAll # # </Limit> # # <Limit STOR> # # AllowAll # # </Limit> # # </Directory> </Anonymous> . . .
To make sure, that user "ftp" is able to login anonymously to ftp-space, you have to add the user to the group "ftpuser":
adduser ftp ftpuser
Re-loading the Configuration and Re-starting the FTP Server
The configuration will have to be re-loaded after the adjustments to the /etc/proftpd/proftpd.conf file:
/etc/init.d/proftpd reload
Because the FTP server will be stopped when re-loading the configuration, it will also have to be re-started afterwards:
/etc/init.d/proftpd start
Links
- http://www.proftpd.org/ - Web site for the project
- http://www.castaglia.org/proftpd/ - Web site for the primary developer with numerous HOWTO pages and background information
เพิ่งเขียนให้ app hatyaicityclimate.org สามารถรายงานสถานการณ์ พร้อมอัพโหลดภาพได้ และรายงานระดับน้ำจากสมาชิกด้วย แต่ติดว่าเมื่อกดปุ่มเลือกไฟล์ภาพจากกล้อง ด้วย tag input type="file" จะไม่เด้งหน้าเลือกไฟล์มาให้
คำแนะนำคือให้เปลี่ยนไปใช้ WebChromeClient แทน แก้ไขตามตัวอย่าง หรือไปดูจากที่มาได้เลยครับ
งมหาเรื่องแปลกอยู่หลายอาทิตย์ วันนี้เลยตามหาว่าเกิดอะไรขึ้นกับโปรแกรม PHP ที่เขียนบน Linux และไม่เคยทดสอบบน Windows เมื่อเอามาติดตั้งก็เลยเกิด error แปลก
ปรากฏว่า คำสั่ง isset($body['location']) ดันเป็นจริงเมื่อ $body ไม่ใช่ array ทำให้เช็คเงื่อนไขผิดพลาด
แก้ไข : ตรวจสอบด้วยว่าเป็น array หรือไม่
if ( is_array($body) && isset($body['location']) ) then ;Do something
หลังจากที่ Google ได้ปรับแนวทางการออกแบบ Mobile Application และปรับมาจนถึงเว็บไซท์ ให้มาใช้แนวทางของ Material Design ก็มีคนออกมาให้คำแนะนำและสอนวิธีการกันมากมาย
เว็บ hugeinc.com ก็เป็นอีกเว็บหนึ่งที่นำเสนอในรูปแบบของ Slide ให้เราลองศึกษากันเป็นขั้นตอนที่จะเข้าใจได้ง่ายขึ้น ลองตามไปอ่านดูนะครับ ที่ Google Material Design
ผมเป็นโปรแกรมเมอร์ครับ และปัญหาใหญ่ของโปรแกรมเมอร์ หรือคนที่ทำอาชีพด้านอื่นที่ไม่ใช่ Designer เวลาทำเว็บไซต์หรือแอพ ก็คือ การขาดเซ้นส์ด้านดีไซน์ ไม่ว่าจะลองออกแบบยังไงก็เลือกสีได้ไม่โดน เลือกฟ้อนต์ได้ไม่สวยสักที
ผมเห็นด้วยกับคำกล่าวของแอดมินเว็บดีไซน์นิวทุกประการเลยครับ และขอบคุณที่ท่านได้แปลบทความดี ๆ เรื่อง 7 กฎการออกแบบ UI Design ให้สวยงาม สำหรับ Non-Designer ที่เขียนโดยคุณ Erik ผู้ซึ่งเรียนจบคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ขึ้นชื่อมากในด้านการทำสิ่งที่ประสิทธิภาพดีเยี่ยม แต่ดีไซน์ห่วยสุด ๆ แน่นอนว่าเค้าไม่ได้เรียนเกี่ยวกับการออกแบบให้สวยงามมาแม้แต่น้อย
7 กฎการออกแบบ UI Design ให้สวยงาม สำหรับ Non-Designer ประกอบด้วย
- แสงต้องมาจากบนฟ้า (อ่าน ตอน 1)
- เริ่มด้วย ขาว-ดำ เสมอ (อ่าน ตอน 1)
- เพิ่ม Whitespace (ช่องว่าง) เป็นสองเท่า (อ่าน ตอน 2)
- เทคนิคการวางตัวหนังสือบนรูป ไม่ให้จม (อ่าน ตอน 2)
- เพิ่ม – ลด ความเด่นของตัวหนังสือ (อ่าน ตอน 2)
- เลือกใช้ฟ้อนต์ให้เหมาะสม (อ่าน ตอน 2)
- ขโมยอย่างศิลปิน (อ่าน ตอน 2)
ลองติดตามอ่านบทความฉบับสมบูรณ์ได้จากเว็บไซท์ดีไซน์นิวดีกว่านะครับ ยาวหน่อยแต่ได้ประโยชน์มาก อ่านได้เลยที่ 7 กฎการออกแบบ UI Design ให้สวยงาม สำหรับ Non-Designer ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2
มีคนเขียน สรุปหนังสือ “Beating the Street" ของ Peter Lynch เอาไว้ ผมไปเห็นใน Facebook ของ รู้ทันหุ้นบ่าย เลยขออนุญาตนำมาเก็บไว้ในเว็บตนเองนะครับ อ่านกันได้เลยครับ ยาวมากๆ
คุณจะซื้อหุ้นแบบไหน หุ้นเล็กหรือหุ้นใหญ่ ไม่สำคัญเท่ากับว่าคุณได้ลงทุนในหุ้นแล้ว เพราะประเด็นหุ้นเล็ก หุ้นใหญ่เป็นประเด็นรองจริงๆ วิธีคิด คือ ลงทุนในหุ้นเสียเถอะ ถ้าต้องการผลตอบแทนในระยะยาวที่ดี
ลินซ์กล่าวว่า นักลงทุนมือสมัครเล่นที่สามารถเจียดเวลาเพียงไม่มากนักกับการศึกษาบริษัทในอุตสาหกรรมที่เขามีความรู้จะสามารถเอาชนะผู้จัดการกองทุนได้ แถมมาด้วยความสนุกอีกต่างหาก
เมื่อ Google สร้าง API ที่สามารถตรวจสอบความเป็น robot ที่ทำให้มนุษย์ไม่ต้องป้อนตัวอักษรยึกยืออีกต่อไป เป็นอีกสิ่งที่น่าลองนำมาใช้ในเว็บ ไว้มีโอกาสจะลองดู ระหว่างนี้ขอไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมก่อน
กูเกิลเสนอ "No CAPTCHA reCAPTCHA" ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องกรอก CAPTCHA อีกต่อไป
เชื่อว่าหลายๆท่านที่ได้อ่านข่าวนี้ คงประสบกับปัญหาต้องกรอก CAPTCHA ที่บางครั้งก็บิดเบี้ยวจนแม้แต่มนุษย์ก็อ่านไม่ออกกันบ้างนะครับ
ซึ่งถ้ายังจำกันได้ เมื่อช่วงต้นปี กูเกิลได้พัฒนาเทคโนโลยีแปลงภาพเป็นตัวอีกษรแบบใหม่ ที่สามารถแก้ reCAPTCHA ได้แม่นยำถึง ร้อยละ 99.8 (ข่าวเก่า) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ระบบให้กรอก CAPTCHA แบบเดิมๆไม่สามารถแยกแยะระหว่างมนุษย์กับบ็อตได้อีกต่อไป
ในวันนี้กูเกิลจึงได้นำเสนอ API ตรวจจับบ็อตรูปแบบใหม่ ที่ทำให้ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องกรอก CAPTCHA อีกต่อไป ในชื่อ "No CAPTCHA reCAPTCHA” โดยที่ผู้ใช้เพียงแค่เลือกติ๊กถูกว่าฉันไม่ใช่บ็อต (I'm not a robot) ซึ่งเบื้องหลังการทำงาน เป็นผลมาจากกูเกิลได้พัฒนาแบ็คเอนด์เพื่อประเมินความเสี่ยง (risk analysis) เพื่อแยกแยะว่าผู้ใช้เป็นมนุษย์หรือบ็อต (ข่าวเก่า)
แต่อย่างไรก็ดี ในกรณีที่ระบบไม่มั่นใจสามารถแยกแยะได้ว่าผู้ใช้รายนั้นเป็นคนหรือบ็อต ระบบก็จะส่ง CAPTCHA ไปให้ผู้ใช้กรอกเหมือนเดิมครับ
นอกจากนี้กูเกิลยังได้เพิ่มรูปแบบใหม่ของ reCAPTCHA สำหรับอุปกรณ์พกพา ด้วยการให้ผู้ใช้เลือกรูปภาพที่เหมาะสมกับรูปภาพที่กำหนด ซึ่งจะง่ายกว่าการพิมพ์อักษร CAPTCHA แบบเดิมครับ
โดยเริ่มมีเว็บไซต์ที่นำ API ใหม่นี้ไปใช้งานบ้างแล้ว เช่น Snapchat, WordPress และ Humble Bundle โดยสถิติเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา กว่าร้อยละ 60 ของผู้ใช้ WordPress และร้อยละ 80 ของผู้ใช้ Humble Bundle สามารถผ่าน reCAPTCHA ได้รวดเร็วกว่าเดิม
สำหรับนักพัฒนาที่ต้องการนำ API ใหม่ไปใช้งาน สามารถศึกษาได้จาก ที่นี่ ครับ
ที่มา - Google Online Security ผ่านทาง Blognone.com
ช้อป 20 หุ้นหลบภัย P/E ต่ำ พื้นฐานดีราคามีอัพไซด์ :ยก RML-ANAN-SPALI
เปิดโผ 20 หุ้นหลบภัย P/E ต่ำ มีอัพไซด์ทุกตัว โบรกฯ การันตีพื้นฐานรองรับ RML-ANAN-SPALI-PS เด่นกลุ่มอสังหาฯ ฟากกลุ่มไอซีทีชู JAS-AIT กลุ่มธนาคาร TMB-KTB-KBANK หุ้นก่อสร้าง TRC-SEAFCO หุ้นพลังงาน PTT
จากการสำรวจกลุ่มหุ้นที่มีค่า P/E ต่ำกว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระดับ 19 เท่า โดยเป็นบริษัทที่มีแนวโน้มทำผลการดำเนินงานงวดไตรมาส 4/57 และภาพรวมปี 2557 เติบโตเป็นอย่างดี มีราคาหุ้นในกระดานต่ำกว่าราคาเป้าหมาย และเป็นหุ้นพื้นฐานที่มีบทวิเคราะห์ของโบรกฯ รองรับ มีอยู่ทั้งหมด 20 บริษัท ได้แก่